วันอาทิตย์ที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2552
การบ้านวันจันทร์ที่ 8 ธันวาคม 2551
0.13 3
= 1.30 (37.68) + 1.30 *0.26
0.13= 377 + 0.33
= 377.33 dB
2.) 20 log (4*3.14*3) + 10*2 log (8)
0.13
31.30 (37.68) + 1.30 * 0.43
0.13
= 377 + 0.65
= 377.65 dB
3.) 20 log (4*3.14*3) + 10*2 log (17)
0.13 3
= 1.30 (37.68) + 1.30 * 0.8
0.13
= 377 + 1.092
= 378.092 dB
4.) 20 log (4*3.14*3) + 10*2 log (20)
0.13 3= 1.30 (37.68) + 1.30 * 0.84
0.13
= 377 +1.092
= 378.092 dB
5.) 20 log (4*3.14*3) + 10*2 log (33)
0.13 3
= 1.30 (37.68)+1.30*1.04
0.13
= 377 + 1.352
= 378.35 dB
6.) 20 log (4*3.14*3) + 10*2 log (45)
0.13 3
= 1.30 (37.68)+10*2 log (45)
0.13 3
= 377 +1.56
= 378.60 dB
7.) 20 log(4*3.14*3) + 10*2 log (50)
0.13 3
= 1.30 (37.68) + 1.30*1.23
0.13377 +1.7
= 380 dB
8.) 20 log (4*3.14*3) + 10*2 log (60)
0.13 3
= 1.30 (37.68) +1.30*1.30
0.13
= 377 +1.7= 380 dB
9.) 20 log (4*3.14*3)+10*2 log (37)
0.13 3
= 1.30 (37.68) +1.30*1.1
0.13377 +1.43
= 378.43 dB
10.) 20 log (4*3.14*3) +10*2 log (10)
0.13 3
= 1.30 (37.68) +1.30*0.51
0.13
= 377+0.7
= 378 dB
การหาค่าของ LP
1.) LP = 20 log (4*3.14*9) +2*21+2*4.5
0.13= 1.30 (113.04) +42+9
0.13= (1.30*870)+51= 1182 LP
2.) LP = 20 log (4*3.14*8)+2*21+2*4.5
0.13= 1.30*33.5 +51= 94.55 LP
3.) LP = 20 log (4*3.14*17) + 2*21+2*4.5
0.13= 1.30*71.20+51= 143.6 LP
4.) LP = 20 log (4*3.14*20)+2*21+2*4.5
0.13= 1.30*84+51= 160.2 LP
5.) LP = 20 log (4*3.14*33) + 2*21+2*4.5
0.13= 1.30*3190+51= 4200 LP
6.) LP =20 log (4*3.14*45) +2*21+2*4.5
0.13= 1.30*4347.7+51= 5703.01 LP
7.) LP 20 log (4*3.14*50) +2*21+2*4.5
0.13= 1.30*3575+51= 4698.5 LP
8.) LP = 20 log (4*3.14*60) +2*21+2*4.5
0.13= 1.30 *5797+51= 7587.1 LP
9.) LP =20 log (4*3.14*37) +2*21+2*4.5
0.13= 1.30*3575+51= 4698.5 LP
10.) LP = 20 log (4*3.14*10) +2*21+2*4.5
0.13= 1.30*966.15+51= 1307 LP
วันจันทร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2551
การบ้านวันที่ 17 พ.ย.2551
1.) 55 log mw/1= 5/0.69 log = 0.69x10 = 6.9 = 7 db
2.) 1010 log mw/110/1 log= 0.778 x 10 = 7.78= 8 db
3.) 1515 log mw/115/1.77 log= 1.77 x 10 = 117= 118 db
4.) 2020/1.30 log= 1.30 x 10 = 13 db
5.) 2525 log mw/1= 25/1.39 log= 1.39 x 10 = 13.9= 14 db
db ให้เป็น mw
1.) 23= 23 db/10= 23/10= 2.3= 102.3= 199.5
2.) 18= 18 db/10= 18/10= 1.8= 357.05
3.) 7= 7 db/10= 7/10= 0.7 = 0.03
4.) 100= 100 db/10= 100/10= 10= 10= 1000000000
5.) 13 = 13 db/10= 13/10= 1.3= 14
เลขที่ของตัวเอง 47 = 3.14 x 4 x 47 = 590.32log= 2.8x 2o= 56
แบบฝึกหัด 10 ข้อ
ความแตกต่างของ IEEE 802.11bใช้กลไกเข้าถึงตัวกลางแบบCSMA/CA อาศัยกลไกส่งแบบ DSSS รวมกับเทคนิค cuk
ทำให้สามารถรับ - ส่งข้อมูลได้เร็วถึง 5.5 Mbpsและ 11 Mbpsความแตกต่าง ของ IEEE802.a
ใช้กลไกการส่งแบบ OFDM ซึ่งรองรับความเร็วได้ถีง 54 Mbps
2. ย่านความถี่ ISM band มีอะไรบ้าง
1. ย่านความถี่ที่ 900 MHz มีแบบความกว้างตั้งแต่ 2.400 ถึง 928 MHz2
2. ย่านความถี่ที่ 2.4 GHz มีแถบความกว้างตั้งแต่ 2.400 ถึง 2.4835 MHz
3. ย่านความถี่ที่ 5 GHz มีแถบความกว้างตั้งแต่ 5.725 ถึง 5.850 MHz
3. จงอธิบายพฤติกรรมของคลื่น Diffraction , Interference-Diffraction
อธิบายได้ด้วยหลักกการของฮอยเกนส์ คือ หน้าคลื่นที่ผ่านตัวกันมานั้นจะทำหน้าที่เป็นต้นกำเนิดคลื่นใหม่ที่มีหน้าที่คลื่นเป็นวงกลม ทำให้เกิดคลื่นวงกลมหลังตัวกั้น-Interference อธิบายเกิดจากคลื่นสองขบวนที่เหมือนกันทุกประการเคลื่อนที่มาพบกันแล้วเกิดการซ้อนทับกันถ้าเป็นคลื่นแสงจะเห็นแถบมืดและแถบสว่างสลับกัน ส่วนคลื่นเสียงจะได้ยินเสียงดังเสียงค่อยสลับกัน
4. ระบุ specify ของอุปกรณ์เครือข่าย
5. จงบอกประโยชน์ของเครือข่ายไร้สาย
1. ผู้ใช้สามารถใช้งานไฟล์ อุปกรณ์ต่างๆโดยไม่ต้องต่อสายและสามารถใช้อุปกรณ์มือถือซึ่งยังคงความเร็วสูงและ Real time
6. จงอธิบายการทำงานของ ALOHA ,CSMA/CA
1. การทำงานของ CSMA/CA คือ เมื่อสถานีหนึ่งต้องการเข้าใช้ช่องสัญญาณสถานีดังกล่าวจะต้องตรวจสอบช่องสัญญาณก่อนว่ามีสถานีอื่นทำการรับส่งสัญญาณข่อมูลอยู่หรือไม่และรอจนกว่าช่องสัญญาณว่าง ซึ่งแต่ละสถานีได้กำหนดระยะเวลาในการรอแล้ว ด้วยการสุ่มค่าหลังจากเสร็จการใช้ช่องสัญญาณครั้งก่อน
7.จงอธิบายหลักการทำงานของ FHSS, DSSS, OFDM
1. FHSS หลักการทำงานสัญญาณจะกระโดดจากความถี่หนึ่งไปยังความถี่หนึ่งในอัตราที่ได้กำหนดไว้ซึ่งจะรู้กันเฉพาะตัวรับกับตัวส่งเท่านั้น
2. DSSS หลักการทำงานจะมีการส่ง chipping code ไปกับสัญญาณแต่ละครั้งด้วยซึ่งจะมีเฉพาะตัวรับกับตัวส่งเท่านั้นที่จะรู้ลำดับของ chip
3. OFDM หลักการทำงานถูกสร้างมาเพื่อใช้งานสำหรับระบบสื่อสารไร้สายแบบเคลื่อนที่แบนด์กว้างมีอัตราการส่งข้อมูลสูงๆ เช่น ระบบ LAN
8. การลดทอนของสัญญาณคืออะไร
คือ การออกแบบเครือข่ายไร้สายแต่ละประเภทจะต้องเลือกใช้สมการให้เหมาะสมกับระบบที่จะทำการออกแบบทั้งนี้จึงจะทำให้ได้ค่าใกล้เคียงกับสภาพจริงและทำให้ระบบมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
9. กำลังส่งและกำลังรับหมายความว่าอย่างไรกำลังส่ง
หมายความว่า Path Loss เป็นการลดทอนสัญญาณที่กำลังส่งสัญญาณจะลดลงอย่างคงที่ตามระยะทางในการส่งสัญญาณกำลังรับ หมายความว่า การที่เครื่องรับได้รับสัญญาณจาก 2 ทิศทางหรือมากกว่านั้นแล้วทำให้มีการสูญเสียเนื่องจากเกิดการรบกวนกันของสัญญาณที่มาจากทิศทางนั้น10. Cell sizing คืออะไรการแบ่งสัญญาณเครือข่ายไร้สายให้ข้างบ้านใช้งานด้วยการติดตั้งระบบเครือข่ายควรดูรัศมีที่ต้องการใช้งานและเลือกใช้รวมถึงติดตั้งอุปกรณ์ที่ส่งสัญญาณให้เหมาะสมกับรัศมีนั้น
วันศุกร์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2551
ออกข้อสอบ 30 ข้อ
1. ระบบเครือข่ายแบบไร้สายคือ
ก. Wireless LAN
ข. ISM
ค. Heinrich Hertz
ง. OFDM
2. ใครเป็นคนสรค้างทฤษฎี แม่เหล็กไฟฟ้า
ก. เฮน ริค เฮิรตซ์
ข. เจมส์ เคิร์ก แม็กแวลล์
ค. มาโคนี่
ง. มอส เคิร์ก
3. จงบอกคำย่อของ Industeial Sciences Medicine
ก. IMS
ข. SME
ค. MSI
ง. ISM
4. Direct IR และ Diffuse IR เป็นกลไกลการส่งแบบใด
ก. คลื่นอินฟราเรด
ข. คลื่นวิทยุ
ค. คลื่นไมโครเวฟ
ง. ถูกทุกข้อ
5. โครงสร้างของมาตรฐาน IEEE 802.11 ประกอบด้วย
ก. OFDM
ข. DSSS
ค. MAC และ PHY
ง. DSSS และ PHSS
6. ใน MAC Layer จะมีโปรโตคอลชื่อว่า
ก. CA/CSMA
ข. CSAM/CA
ค. AP
ง. CSMA/CA
7. Hot spot ทำหน้าที่เป็นอะไร
ก. กระจายสัญญาณคลื่นวิทยุ
ข. เป็นสะพานเชื่อมต่อระหว่างระบบเครือข่าย
ค. ตรวจสอบการทำงาน
ง. ถูกทุกข้อ
8. รุปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบไร้สายมีกี่โหมด
ก. 2 โหมด
ข. 3 โหมด
ค. 4 โหมด
ง. 5 โหมด
9. Wireless LAN ถูกพัฒนาขึ้นใน ค.ศ. ใด
ก. 1980
ข. 1990
ค. 1982
ง. 1992
10. ค.ศ. ใดที่ส่งข้อมูลข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกเป็นผลสำเร็จครั้งแรก
ก. 1903
ข. 1905
ค. 1907
ง. 1999
11. คลื่นอินฟราเรดที่ใช้ในเครือข่ายไร้สายจะมีคลื่นกี่นาโนเมตร
ก. 650-700
ข. 850-900
ค. 750-800
ง. 950-1000
12. เทคโนโลยีที่ใช้ใน ULAN จากตอนแรกที่ใช้อินฟราเรดในการรับส่ง ตืมีข้อจำกัดในระยะทางส่งไม่ได้ไกล ต่อมาจึงได้ใช้คลื่นวิทยุในการส่ง มีเทคนิค 2 ชนิด คือ
ก. CSMA/CA และ DSSS
ข. FHSS และ SSID
ค. FHSS และ DSSS
ง. OFDM และ FHSS
13. การพัฒนาการของมาตรฐานเครือข่ายไร้สายมีจุดเริ่มต้นและใช้อย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี ค.ศ. ใด
ก. 19976
ข. 1997
ค. 1998
ง. 1999
14. การกระจายของคลื่นวิทยุมีกี่ขั้นตอน
ก. 5
ข. 6
ค. 7
ง. 8
15. สมบัติของคลื่นมีกี่อย่าง
ก. 4
ข. 5
ค. 6
ง. 7
16. ข้อใดคือการแทรกสอด
ก. Refraction
ข. Ciffraction
ค. Inlerferece
ง. Perntration
17. ข้อใดคือการลดทอนของคลื่น
ก. Refraction
ข.Attenuation
ค. Inlerferece
ง. Perntration
18. หน่วยวัดอัตราการลดทอนหรืออัตราการขยายของกำลังส่งคืออะไร
ก. dB (Decibel)
ข. dBm (Decibel Milli)
ค. dBi (Decibel Isotropic)
ง. ไม่มีข้อทุก
19. มาตรฐาน IEEE ใดใช้กลไกลการเข้าถึงตัวกลางแบบ CSMA/CA พัฒนากลไกลการส่งแบบ OFDM
ก. IEEE 802.11a
ข. IEEE 802.11b
ค. IEEE 802.11g
ง.. IEEE 802.11c
20. ถ้าเราใช้เครือข่ายไร้สายที่มีความี่ 2.4 GHz จะมีอัตราขยายสูงสุดกี่ dBm
ก. 25 dBm
ข. 26 dBm
ค. 27 dBm
ง. 28 dBm
21. หน่วยวัดการเพิ่มกำลังขยาย อัตราขยายที่เทียบจากสาย Dipole
ก. dB (Decibel)
ข. dB (Decibel Milli)
ค. dB (Decibel Isotropic)
ง. dB (Decibel Dipole)
22. เสาอากาศแบบรอบตัวเรียกว่าอะไร
ก. เสาอากาศแบบยากิ
ข. เสาอากาศแบบไดโฟสค
ค. เสาอากาศแบบกลิด
ง. ถูกทุกข้อ
23. เสาอากาศแบบทิศทางอัตราการขยายมีค่าประมาณเท่าไหร่
ก. 2-12 dBi
ข. 6-12 dBi
ค. 8-32 dBi
ง. 9-36 dBi
24. ทฤษฎีของ XP Technology คือ
ก. การประมวลผล
ข. การรับค่า
ค. การส่งข้อมูล
ง. ถูกทุกข้อ
25. เราสามารถแทนค่าลงในสมการ PL (db) = 41+10 log(D3.3) เพราะฉะนั้นถ้าเป็นพื้นที่ในสำนักงานจะมีค่า LOSS เท่ากับ
ก. 40 db
ข. 41db
ค. 50 db
ง. 51 db
26. หน่วยที่ใช้เยนกขนาดของกำลังไฟฟ้าคือ
ก. Watt
ข. db (Decibel)
ค. dBm (Decidbel)
ง. dBm (Decibel)
27. สัญญานสั้นและยาวสลับกันเรียกว่า
ก. Hertx Code
ข. Clerk Code
ค. Morse Code
ง. Rich Code
28. ISM Bang ใช้ช่วงความถี่ใด
ก. 802 MHz
ข. 702 MHz
ค. 602 MHz
ง. 902 MHz
29. การเกิดคลื่นจะมีพลังงานและความแรงเรียกว่า
ก. Herth
ข. Header
ค. Amplitude
ง. DAB
30. การวัดหน่วยของคลื่นจะมีหน่วยเป็น
ก. Herth
ข. Header
ค. Amplitude
ง. DAB
วันอังคารที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2551
ข้อสอบ50 ข้อ เรียนวันอังคาร ที่ 20 ตุลาคม 2551
a. AP
b. BSS
c. ESS
d. DCF
เฉลย a. AP
2. ข้อใดไม่ถูกต้องในการกล่าวถึง Rang ของความถี่
a. 902 MHz – 928 MHz
b. 2.400 GHz – 2.8435 GHz
c. 5.725 GHz – 5.855 GHz
d. ข้อ a. และ ข้อ b.
เฉลย b. 2.400 GHz – 2.8435 GHz
จงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคำถามจากข้อ 3 – 8 เขียนคำตอบลงในช่อง ก.
A. Industry
B. Science
C. Medical
D. 900 MHz
E. 2.400 GHz
F. IEEE802.11a
G. IEEE802.11b
H. 54 Mbits
I. 2 Mbits
J. 11 Mbits
K. DSSS
L. FHSS
M. ISM
3. Data Rate สูงสุดที่สามารถส่งข้อมูลได้ใน wireless Lan ที่ใช้ Machanism แบบ OFDM
เฉลย K.DSSS
4. Radio Frequency ที่ใช้งานเยอะที่สุดใน IEEE802.11
เฉลย L. FHSS
5. IEEE802.11b ใช้ machanism แบบใด
ตอบ C. Medical
6. Machanism แบบใดที่มี Data Rate 11 Mbits
เฉลย A. Industry
7. ย่านความถี่ที่อนุญาตให้ใช้ได้ในงานอุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์และการแพทย์
เฉลย D. 900 MHz
8. Radio frequency 2.400 GHz มีกี่ channela. 54 b. 69c. 79 d. 89
เฉลย c.79
9. ในการ hop แต่ละ hop ใช้การ synchronize ต่างกันเท่าไหร่
a. 0.4 ms per hop
b. 0.45 ms per hop
c. 0.2 ms per hop
d. 0.25 ms per hop
เฉลย b.0.45 ms per hop
10. สถาปัตยกรรมของ wireless lan ใน mode ใดที่ต้องเดินสาย wire network
a. ad-hoc
b. Peer to peer
c. Infrastructure
d. BSS
เฉลย d.BSS
11. Routing Protocol มีกี่แบบ อะไรบ้าง
a. 2 แบบ Link state & Distance Vector
b. 2 แบบ Link state & Dynamic
c. 2 แบบ Dynamic & Static
d. 2 แบบ DGP & OSPF
เฉลย b. 2 แบบ Link state & Dynamic
12. ข้อใดไม่ใช่ข้อพิจารณาลักษณะของ Routing ที่ดี
a. Cost ต่ำ
b. Space ต่ำ
c. Delay ต่ำ
d. Hop ต่ำ
เฉลย d. Hop ต่ำ
13. Protocol BGP พิจารณาการส่งข้อมูลจากอะไร
a. จำนวนลิงค์
b. ระยะทาง
c. จำนวน router
d. ราคาค่าเช่า
เฉลย b. ระยะทาง
14. ลักษณะสำคัญของ routing table ประกอบด้วยอะไรบ้าง
a. ต้นทาง
b. ปลายทาง
c. ต้นทาง ปลายทาง
d. ต้นทาง โปรโตคอล ปลายทาง
เฉลย c. ต้นทาง ปลายทาง
15. OSFP (Open Shortest Path First) เป็นชื่อของ
a. Algorithm
b. Protocol
c. Router
d. Routing Table
เฉลย b. Protocol
16. ชนิดของเส้นใยแก้วนำแสงที่ใช้รับ – ส่งข้อมูลในระยะทางไกล ๆ
a. Grade Index Multimode
b. Step Index Multimode
c. Single Mode
d. ถูกทุกข้อ
เฉลย a.Grade Index Multimode
17. แกนกลางที่เป็นใยแก้วนำแสงเรียกว่าอะไร
a. Jacket
b. Cladding
c. Core
d. Fiber
เฉลย c. Core
18. แสดงที่เดินทางภายใสเส้นใยนำแสงจะตกกระทบเป็นมุม คือลักษณะของเส้นใยแก้วแบบใด
a. Grade Index Multimode
b. Step Index Multimode
c. Single Mode
d. ถูกทุกข้อ
เฉลย a. Grade Index Multimode
19. แสดงที่เดินทางภายในเส้นใยแก้วนำแสงจะเป็นเส้นตรง คือลักษณะของเส้นใยแก้วแบบใด
a. Grade Index multimode
b. Step Index Multimode
c. Single Mode
d. ถูกทุกข้อ
เฉลย c. Single Mode
20. ต้นกำเนิดแสง (optical source) ที่มี Power ของแสงเข้มข้นคือ
a. Laser
b. APD
c. LED
d. PIN-FET
เฉลย d.PIN-FET
21. ข้อใดคือ Fast Ethernet
a. 10base5
b. 1000baseFX
c. 100BaseFL
d. 10GbaseTX
เฉลย b. 1000baseFX
22. 10BasF ใช้สายสัญญาณอะไรในการส่งข้อมูล
a. UTP b. STP
c. Coaxial
d. Fiber Optic
เฉลย b. STP
23. ข้อใดไม่ใช่ Ethernet แบบ 1000 mbps
a. 1000BaseT
b. 100BaseTX
c. 1000BaseX
d. 1000BaseFL
เฉลย c.1000BaseX
24. ขนาด Frame ที่เล็กที่สุดของ Gigabit Ethernet คือ
a. 53 byte
b. 64 byte
c. 128 byte
d. 512 byte
เฉลย d. 512 byte
25. Ethernet ใช้ protocol ใดในการตรวจสอบการส่งข้อมูล
a. LLC
b. CSMA/CA
c. CSMA/CD
d. ALOHA
เฉลย b. CSMA/CA
26. Ethernet 10baseT ต่อยาวกี่เมตรสูงสุด
a. 80 ม.
b. 100 ม.
c. 150 ม.
d. 185 ม.
เฉลย b. 100 ม.
27. ใครเป็นผู้กำหนดมาตรฐานของ Ethernet
a. OSI
b. IEEE
c. ISO
d. CCITT
เฉลย b.IEEE
28. 10Base5 ใช้สาย Coaxial แบบใด
a. Thin
b. Thickc. UTP
d. STP
เฉลย b.Thick
29. Fast Ethernet มีความเร็วเท่าใด
a. 10 mbps
b. 100 mbps
c. 1000 mbps
d. 10 Gbps
เฉลย b. 100 mbps
30. 100 Mbps, baseband, long wavelength over optical fiber cable คือ มาตรฐานของ
a. 1000Base-LX
b. 1000Base-FX
c. 1000Base-T2
d. 1000Base-T4
เฉลย d.1000Base-T4
31. ATM มีขนาดกี่
a. 48 ไบต์
b. 53 ไบต์
c. 64 ไบต์
d. 128 ไบต์
เฉลย b. 53 ไบต์
32. CSMA พัฒนามาจาก
a. CSMA/CA
b. CSMA/CD
c. CSMA
d. ALOHA
เฉลย b. CSMA/CD
33. Internet เกิดขึ้นที่ประเทศอะไร
a. AU
b. JP
c. USA
d. TH
เฉลย c.USA
34. เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการขนถ่ายข้อมูล หรือ Transport Technology
a. SEH
b. ATM
c. Mobile
d. DWDM
เฉลย d. DWDM
35. ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตเรียกว่าอะไร
a. CS internet
b. Operator
c. Admin
d. ISP
เฉลย c.Admin
36. การแจกจ่ายหมายเลขไอพีแอดเดรส ให้กับเครื่องลูกโดยอัตโนมัติเรียกว่าอะไร
a. DNS
b. FTP
c. DHCP
d. Proxxy
เฉลย b.FTP
37. การถ่ายโอนข้อมูลบนระบบอินเตอร์เน็ตเรียกว่าอะไร
a. DNS
b. FTP
c. DHCP
d. Proxxy
เฉลย c. DHCP
38. โปรโตคอลการสื่อการที่เป็น offline
a. ICMP
b. TCP
c. UDP
d. ARP
เฉลย d. ARP
39. การหาเส้นทางการส่งข้อมูลเรียกว่า
a. Routing
b. Routing Protocol
c. RoutingTable
d. Router
เฉลย b. Routing Protocol
40. ข้อใดไม่มีในขั้นตอนการทำ server 7 พ.ค. 48
a. DHCP
b. DNS
c. Routing Protocol
d. Virtual host
เฉลย b. DNS
41. หมายเลข IP Class ใดรองรับการทำงานของ host ได้สูงสุด
a. A
b. B
c. C
d. D
เฉลย d. D
42. อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างชนิดเข้าด้วยกันคือ
a. Hub
b. Switching
c. Modem
d. Router
เฉลย a. Hub
43. การ set ค่าความสำคัญสูงสุด (High priority) ของ packet เป็นหน้าที่ของ function ใดต่อไปนี้
a. PIFS
b. SIFS
c. DIFS
d. MIB
เฉลย d. MIB
44. การป้องกันการชนกันของการส่งข้อมูลใด WLAN ใช้หลักการใด
a. ALOHA
b. CSMA
c. CSMA/CA
d. CSMA/CD
เฉลย d. CSMA/CD
45. Data Rate สูงสุดขนาด 54 Mb ที่ส่งได้ใน WLAN ใช้มาตรฐานใดและใช้หลัก mechanism (กลไกการส่ง) แบบใด
a. IEEE802.11a ; DSSS
b. IEEE802.11b ; FHSS
c. IEEE802.11a ; OFDM
d. IEEE802.11b ; OFDM
เฉลย c. IEEE802.11a ; OFDM
46. อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณ D/A คือ
a. Hub
b. Switching
c. Modem
d. Router
เฉลย c. Modem
47.อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่บรอดแคสสัญญาณ (Broadcast) คือ
a. Hub
b. Switching
c. Modem
d. Router
เฉลย d. Router
48. Mechanism ใดของ WLAN ที่มีการรบกวน (Interference) สูงที่สุดใด
a. Diffuse IR
b. DSSS
c. OFDM
d. FHSS
เฉลย b. DSSS
49. CIDR 192.168.0.0/24 จะมีค่า subnet mask เท่าใด
a. 225.225.0.0
b. 225.225.128.0
c. 225.225.225.0
d. 225.225.225.192
เฉลย d. 225.225.225.192
50. การ Roaming ใช้กับการโอนถ่ายข้อมูลระหว่าง
a. AP กับ AP
b. BSSกับ AP
c. AP กับ BSS
d. BSS กับ BSS
เฉลย c. AP กับ BSS
วันจันทร์ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2551
ส่งงานครั้งที่1/(2/2551)
Computer Network and Distributed
คำอธิบายรายวิชา (4122102)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เครือข่าย การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับเทอร์ฟินอบ ขั้นของโปรโตคอลมาตรฐาน OSI รูปแบบต่างๆ ของเครือข่าย X.25 เนตเวอร์ค และดิจิตอลเนตเวอร์ค การประมวลผลแบบตามลำดับแบบขนาน การไปป์ไลน์ (Pipelining) การประมวลผลแบบเวคเตอร์ (Vector Processing) การประมวลผลแบบอะเรย์ (Array Processors) พัลติโปรเซสเซอร์ (Multiprocessors) และฟอลท์โทเลอร์แรนซ์ (Favlt Tolerance)
************************************************************************************
URL
http://yalor.yru.ac.th/~sirichai/4122102/outline-1-45.html สถาบันราชภัฏยะลาhttp://yalor.yru.ac.th/~sirichai/4122102/outline-1-44.html สถาบันราชภัฏยะลาhttp://cptd.chandra.ac.th/selfstud/Network2/index.htm ไม่ทราบว่ามาจากสถาบันไหนค่ะ http://www.school.net.th/library/snet1/hardware/network.html ไม่ทราบว่ามาจากสถาบันไหนค่ะ http://www.yupparaj.ac.th/RoomNet2545/activity7/lesson7.htm ไม่ทราบว่ามาจากสถาบันไหนค่ะ http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/network.htm ไม่ทราบว่ามาจากสถาบันไหนค่ะ http://www.bcoms.net/network/intro.asp ไม่ทราบว่ามาจากสถาบันไหนค่ะhttp://ora.chandra.ac.th/~jamornkul/4122102/01.pdf อ.จามรกุล เหล่าเกียรติกุล ไม่ทราบว่ามาจากสถาบันไหน
http://ora.chandra.ac.th/~jamornkul/4122102/02.pdf อ.จามรกุล เหล่าเกียรติกุล ไม่ทราบว่ามาจากสถาบันไหน
http://www.school.net.th/library/snet1/network/network/index.html ไม่ทราบว่ามาจากสถาบันไหน
วันจันทร์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2551
งานครั้งที่ 10 เรื่อง เส้นใยแก้วนำแสง
จุดเด่นของเส้นใยแก้วนำแสงมีหลายประการ โดยเฉพาะจุดที่ได้เปรียบสายตัวนำทองแดง ที่จะนำมาใช้แทนตัวนำทองแดง จุดเด่นเหล่านี้มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่องและดีขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งประกอบด้วยความสามารถในการรับส่งข้อมูลข่าวสารเส้นใยแก้วนำแสงที่เป็นแท่งแก้วขนเหล็ก มีการโค้งงอได้ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางที่ใช้กันมากคือ 62.5/125 ไมโครเมตร เส้นใยแก้วนำแสงขนาดนี้เป็นสายที่นำมาใช้ภายในอาคารทั่วไป เมื่อใช้กับคลื่นแสงความยาวคลื่น 850 นาโนเมตร จะส่งสัญญาณได้มากกว่า 160 เมกะเฮิรตซ์ ที่ความยาว 1 กิโลเมตร แล้วถ้าใช้ความยาวคลื่น 1300 นาโนเมตร จะส่งสัญญาณได้กว่า 500 นาโนเมตร ที่ความยาว 1 กิโลเมตร และถ้าลดความยาวเหลือ 100 เมตร จะใช้กับความถี่สัญญาณมากกว่า 1 กิกะเฮิรตซ์ ดังนั้นจึงดีกว่าสายยูทีพีแบบแคต 5 ที่ใช้กับสัญญาณได้ 100 เมกะเฮิรตซ์กำลังสูญเสียต่ำเส้นใยแก้วนำแสงมีคุณสมบัติในเชิงการให้แสงวิ่งผ่านได้ การบั่นทอนแสงมีค่าค่อนค่างต่ำ ตามมาตรฐานของเส้นใยแก้วนำแสง การใช้เส้นสัญญาณนำแสงนี้ใช้ได้ยาวถึง 2000 เมตร หากระยะทางเกินกว่า 2000 เมตร ต้องใช้รีพีตเตอร์ทุก ๆ 2000 เมตร การสูญเสียในเรื่องสัญญาณจึงต่ำกว่าสายตัวนำทองแดงมาก ที่สายตัวนำทองแดงมีข้อกำหนดระยะทางเพียง 100 เมตรหากพิจารณาในแง่ความถี่ที่ใช้ ผลตอบสนองทางความถึ่มีผลต่อกำลังสูญเสีย โดยเฉพาะในลวดตัวนำทองแดง เมื่อใช้เป็นสายสัญญาณ คุณสมบัติของสายตัวนำทองแดงจะเปลี่ยนแปลงเมื่อใช้ความถี่ต่างกัน โดยเฉพาะเมื่อใช้ความถึ่ของสัญญาณที่ส่งในตัวนำทองแดงสูงขึ้น อัตราการสูญเสียก็จะมากตามแต่กรณีของเส้นใยแก้วนำแสงเราใช้สัญญาณความถี่มอดูเลตไปกับแสง การเปลี่ยนสัญญาณรับส่งข้อมูลจึงไม่มีผลกับกำลังสูญเสียทางแสงคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไม่สามารถรบกวนได้ปัญหาที่สำคัญของสายสัญญาแบบทองแดงคือการเหนี่ยวนำโดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ปัญหานี้มีมาก ตั้งแต่เรื่องการรบกวนระหว่างตัวนำหรือเรียกว่าครอสทอร์ค การำม่แมตซ์พอดีทางอิมพีแดนซ์ ทำให้มีคลื่นสะท้อนกลับ การรบกวนจากปัจจัยภายนอกที่เรียกว่า EMI ปัญหเหล่านี้สร้างให้ผู้ใช้ต้องหมั่นดูแลแต่สำหรับเส้นใยแก้วนำแสงแล้วปัญหาเรื่องเหล่านี้จะไม่มี เพราะแสงเป็นพลังงานที่มีพลังงานเฉพาะและไม่ถูกรบกวนของแสงจากภายนอกน้ำหนักเบาเส้นใยแก้วนำแสงมีน้ำหนักเบากว่าเส้นลวดตัวนำทองแดง น้ำหนักของเส้นใยแก้วนำแสงขนาด 2 แกนที่ใช้ทั่วไปมีน้ำหนักเพียงประมาณ 20 ถึง 50 เปอร์เซ็นต์ของสายยูทีพีแบบแคต 5ขนาดเล็กเส้นใยแก้วนำแสงมีขนาดทางภาคตัดขวางแล้วเล็กกว่าลวดทองแดงมาก ขนาดของเส้นใยแก้วนำแสงเมื่อรวมวัสดุหุ้มแล้วมีขนาดเล็กกว่าสายยูทีพี โดยขนาดของสายใยแก้วนี้ใช้พื้นที่ประมาณ 15 เปอร์เซ็นต์ของเส้นลวดยูทีพีแบบแคต 5มีความปลอดภัยในเรื่องข้อมูลสูงกว่าการใช้เส้นใยแก้วนำแสงมีลักษณะใช้แสงเดินทางในข่าย จึงยากที่จะทำการแท๊ปหรือทำการตัดฟังข้อมูลมีความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน การที่เส้นใยแก้วเป็นฉนวนทั้งหมด จึงไม่นำกระแสไฟฟ้า การลัดวงจร การเกิดอันตรายจากกระแสไฟฟ้าจึงไม่เกิดขึ้นความเข้าใจผิดบางประการแต่เดิมเส้นใยแก้วนำแสงมีใช้เฉพาะในโครงการใหญ๋ หรือใช้เป็นเครือข่ายแบบแบ็กโบน เทคโนโลยีเกี่ยวกับเส้นใยแก้วนำแสงก็ยังไม่เป็นที่เปิดเผยมากนัก ทำให้เกิดความเข้าใจผิดบางประการเกี่ยวกับคุณสมบัติและการประยุกต์ใช้งานแตกหักได้ง่ายด้วยความคิดที่ว่า "แก้วแตกหังได้ง่าย" ความคิดนี้จึงเกิดขึ้นกับเส้นใยแก้วด้วย เพราะวัสดุที่ทำเป็นแก้ว ความเป็นจริงแล้วเส้นใยแก้วมีความแข็งแรงและทนทานสูงมาก การออกแบบใยแก้วมีเส้นใยห้อมล้อมไว้ ทำให้ทนแรงกระแทก นอกจากนี้แรงดึงในเส้นใยแก้วยังมีความทนทานสูงกว่าสายยูทพี หากเปรียบเทียบเส้นใยแก้วกับสายยูทีพีแล้วจะพบว่า ข้อกำหนดของสายยูทีพีคุณสมบัติหลายอย่างต่ำกว่าเส้นใยแก้ว เช่น การดึงสาย การหักเลี้ยวเพราะลักษณะคุณสมบัติทางไฟฟ้าที่ความถี่สูงเปลี่ยนแปลงได้ง่ายกว่า
เป็นเส้นใยแก้วนำแสงที่มีลักษณะการกระจายแสงออกด้านข้างได้ ดังนั้นจึงต้องสร้างให้มีดัชนีหักเหของแสงกับอุปกรณ์ฉาบผิวที่สัมผัสกับเคล็ดดิงให้สะท้อนกลับหมด หากการให้ดัชนีหักเกของแสงมีลักษณะทำให้แสงเลี้ยวเบนทีละน้อยเราเรียกว่าแบบเกรดอินเด็กซ์ หากให้แสงสะท้อนดยไม่ปรับคุณสมบัติของแท่งแก้วให้แสงค่อยเลี้ยวเบนก็เรียกว่าแบบ สเต็ปอินเด็กซ์เส้นใยแก้วนำแสงที่ใช้ในเครือข่ายแลน ส่วนใหญ่ใช้แบบมัลติโหมด โดยเป็นขนาด 62.5/125 ไมโครเมตร หมายถึงเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อแก้ว 62.5 ไมโครเมตร และของแคล็ดดิงรวมท่อแก้ว 125 ไมโครเมตรคุณสมบัติของเสันใยแก้วนำแสงแบบสแต็ปอินเด็กซ์มีการสูญเสียสูงกว่าแบบเกรดอินเด็กซ์
รูปที่ 2 เส้นใยแก้วนำแสงแบบมัลติ
ตัวส่งแสงและรับแสง
การใช้เส้นใยแก้วนำแสงจำเป็นต้องมีอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับและส่งสัญญาณแสงอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการส่งสัญญาณแสงหรือเป็นแหล่งกำเนิดแสงคือ LED หรือเลเซอร์ไดโอด อุปกรณ์ส่งแสงนี้ทำหน้าที่เปลี่ยนคลื่นไฟฟ้าให้เป็นคลื่นแสง ส่วนอุปกรณ์รับแสงและเปลี่ยนกลับมาเป็นสัญญาณไฟฟ้า คือโฟโต้ไดโอดอุปกรณ์ส่งแสงหรือ LED ใช้พลังงานเพียง 45 ไมโครวัตต์ สำหรับใช้กับเส้นใยแก้วนำแสงแบบ 62.5/125 การพิจารณาอุปกรณ์นี้ต้องดูที่แถบคลื่นแสง โดยปกติใช้คลื่นแสงย่านความยาวคลื่นประมาณ 830 ถึง 850 นาโนเมตร หรือมีแถบกว้างประมาณ 25-40 นาโนเมตร ดังนั้นข้อกำหนดเชิงพิกัดของเส้นใยแก้วนำแสงจึงกล่าวถึงความยาวคลื่นแสงที่ใช้ในย่าน 850 นาโนเมตรตัวรับแสงหรือโฟโต้ไดโอดเป็นอุปกรณ์ที่ใช้รับสัญญาณแสงและมีความไวต่อความเข้มแสง คลื่นแสงที่ส่งมามีการมอดูเลตสัญญาณข้อมูลเข้าไปร่วมด้วยอุปกรณ์ตัวรับและตัวส่งแสงนี้มักทำมาสำเร็จเป็นโมดูล โดยเฉพาะเชื่อมต่อเข้ากับสัญญาณข้อมูลที่เป็นไฟฟ้าได้โดยตรง และทำให้สะดวกต่อการใช้งาน
รูปที่ 3 โครงสร้างของเส้นใยแก้วนำแสง
การเชื่อมต่อ และหัวต่อ
ที่ปลายสายแต่ละเส้นจะมีหัวต่อที่ใช้เชื่อมต่อกับเส้นใยแก้วนำแสง แสงจะผ่านหัวต่อไปยังอีกหัวต่อโดยเสมือนเชื่อมต่อกันเป็นเส้นเดียวได้เมื่อเอาเส้นใยแก้วมาเข้าหัวที่ปลายแก้วจะมีลักษณะที่ส่งสัญญาณแสงออกมาได้ และต้องให้กำลังสูญเสียต่ำที่สุด ดังนั้นจึงมีวิธีที่จะทำให้ปลายท่อแก้วราบเรียบที่จะเชื่อมสัญญาณแสงต่อไปได้
ตัวอย่างการใช้งานต่อไปนี้เป็นรูปแบบให้เห็นตัวอย่างของการประยุกต์ใช้ในอาคารในสำนักงาน โดยสามารถเดินสายสัญญาณด้วยเส้นใยแก้นำแสงตามมาตรฐานสากล คือมีสายในแนวดิ่ง และสายในแนวราบ สายในแนวดิ่งเชื่อมโยงระหว่างชั้น ส่วนสายในแนวราบเป็นการเชื่อมจากผู้ใช้มาที่ชุมสายแต่ละชั้นรูปแบบไดอะแกรมการเดินสายทั่วไปประกอบด้วยโครงสร้างดังรูปที่ 7
จากลักษณะของการเดินสายตามมาตรฐาน EIA 586 นี้ สามารถนำมาใช้กับเทคโนโลยีต่าง ๆ ได้มาก เช่น การใช้เทคโนโลยี 10BASE Fการใช้อีเธอร์เน็ตแบบ 10BASE F เป็นมาตรฐานที่ออกแบบมาให้ใช้แบบเทคโนโลยีอีเธอร์เน็ตโดยตรง ความเร็วสัญญาณยังคงอยู่ที่ 10 เมกะบิต และหากเป็น 10BASE F ก็เป็นความเร็ว 10 เมกะบิต ขณะนี้มีการพัฒนาระบบอีเธอร์เน็ตให้เป็นแบบกิกะบิตอีเธอร์เน็ต หรือความเร็วสัญญาณอยู่ที่ 1,000 เมกะบิต การเดินสายด้วยเส้นใยแก้วนำแสงมีลักษณะเหมือนกับสายยูทีพี โดยใช้ชิปเป็นตัวกระจายพอร์ตต่าง ๆ ดังแสดงในรูปที่ 8
รูปที่ 8 โครงสร้างการเดินสายสัญญาณเพื่อใช้กับเส้นใยแก้วนำแสงFDDI
เทคโนโลยีนี้มีใช้มานานแล้ว เป็นเทคโนโลยีที่มีความเร็วของสัญญาณที่ 100 เมกะบิต และใช้สายสัญญาณเป็นเส้นใยแก้วนำแสง มีโครงสร้างเป็นวงแหวนสองชั้นและแตกกระจายออก การเดินสายสัญญาณตามมาตรฐาน EIA 568 ก็จัดให้เข้ากับ FDDI ได้ง่าย FDDI มีข้อดีคือสามารถเชื่อมโยงเครือข่ายระยะไกลได้ มีจำนวนโหนดบน FDDI ได้ถึง 1,000 โหนด การจัดโครงสร้างต่าง ๆ ของ FDDI สามารถทำผ่านทางแพตช์ที่เชื่อมต่อให้ได้รูปตามที่ FDDI ต้องการ ในลูปวงแหวนหลักของ FDDI ต้องการวงแหวนสองชั้น ซึ่งก็ต้องใช้เส้นใยแก้วนำแสงจำนวนทั้งหมด 4 ลำแสง FDDI ยังเป็นเครือข่ายหลักหรือแบ็กโบนเพื่อเชื่อมต่อไปยังเครือข่ายอื่นได้ เช่น เชื่อมต่อกับอีเธอร์เน็ต กับโทเค็นริง ไดอะแกรมของ FDDI แสดงดังรูปที่ 9
ATM
เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนามาเพื่อรองรับการใช้งานที่ความเร็วสูงมาก เอทีเอ็มสามารถใช้ได้กับความเร็ว 155 เมกะบิต 622 เมกะบิต และสูงเกินกว่ากิกะบิตในอนาคต โครงสร้างการเดินสายเอทีเอ็มมีลักษณะแบบดาว เป็นโครงสร้างการกระจายสายสัญญาณซึ่งตรงกับสภาพการใช้เส้นใยแก้วนำแสงอยู่แล้วลักษณะของแพตช์และการกระจายสายสัญญาณเพื่อใช้กับเส้นใยแก้วนำแสงในลักษณะที่ปรับเปลี่ยนเข้ากับเทคโนโลยีต่าง ๆ ได้แสดงไว้ในรูปที่ 10 การวางโครงสร้างของสายสัญญาณเส้นใยแก้วจึงไม่แตกต่างกับสายยูทีพี
รูปที่ 10 การวางโครงสร้างสายเพื่อเชื่อมต่อเข้ากับอุปกรณ์ต่าง ๆ
อนาคตต้องเป็นเส้นใยแก้วนำแสง
ถึงแม้ว่าเทคโนโลยีในปัจจุบันมีการใช้งานสายยูทีพีอย่างแพร่หลายและได้ประโยชน์มหาศาสล แต่จากการพัฒนาเทคโนโลยีที่ต้องการให้ถนนของข้อมูลข่าวสารเป็นถนนขนาดใหญ่ที่เรียกว่าซูเปอร์ไฮเวย์ การรองรับข้อมูลจำนวนมากและการประยุกต์ในรูปแบบมัลติมีเดียที่กำลังจะเกิดขึ้นย่อมต้องทำให้สภาพการใช้ข้อมูลข่าวสารต้องพัฒนาให้รองรับกับจำนวนปริมาณข้อมูลที่จะมีมากขึ้น จึงเชื่อแน่ว่า เส้นใยแก้วนำแสงจะเป็นสายสัญญาณที่ก้าวเข้ามาในยุคต่อไป และจะมีบทบาทเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งเมื่อถึงเวลานั้นแล้วเราคงจะได้เห็นอาคารบ้านเรือน สำนักงาน หรือโรงงาน มีเส้นใยแก้วนำแสงเดินกระจายกันทั่วเหมือนกับที่เห็นสายไฟฟ้ากำลังอยู่ในขณะนี้และเหตุการณ์เหล่านี้คงจะเกิดขึ้นในอีกไม่นานนัก